วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ศัพย์ภาษาเหนือ กำเมือง



ศัพย์ภาษาเหนือ
แปลว่า
ป้อ
พ่อ
แม่,แม้
แม่
อ้ายบ่าว
พี่ชาย
ปี้สาว
พี่สาว
อ้าย
พี (ใช้เรียกผู้ชาย)
ปี้
พี่ (ใช้เรียกผู้หญิง)
อุ้ย
คนแก่
ป้ออุ้ย
ปู่,ตา
แม่อุ้ย
ย่า,ยาย
บ่าว
คนหนุ่ม(ผู้ชาย)
สาวจี๋
สาวน้อย
บ่าวหน้อย
หนุ่มน้อย
บ่าวเฒ่า
หนุ่มใหญ่
สาวเฒ่า
สาวใหญ่
บ่าวเคิ้น,สาวเคิ้น
หนุ่มขึ้นคาน,สาวขึ้นคาน
เคิ้น
เหลือ,ขึ้นคาน
ละอ่อน
เด็ก

ศัพย์ภาษาเหนือ


สำหรับภาษาเหนือ หรือกำเมืองหรือคำเมืองสองคำนี้ที่เราที่เราคุ้นหู หลายท่านอาจจะแปลกใจว่าทำไมภาษาเหนือถึงถูกเรียกว่ากำเมือง หรือคำเมือง  นั่นก็เพราะทางภาคเหนือมี คนสองกลุ่มที่อาศัยอยู่ คือคนที่อยู่บนพื้นที่ราบสูงหรือก็คือชาวไทยภูเขานั่นเอง และอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งอยู่พื้นที่ราบ ซึ่งพื้นที่ราบก็จะเจริญกว่า  คนที่อยู่บนที่ราบสูงเรียกแหล่งชุมชนนี้ว่า เมือง  ดังนั้นแล้วจึงเกิดคำจำกัดความของคำว่าคนเมืองขึ้นมา และคนที่อยู่บนพื้นที่ราบสูงจึงถูกเรียกว่า คนดอย  นั่นเอง
นี่แหล่ะคือที่มาของคำว่า คนเมือง และกำเมือง งง ไหม เนี่ย 
เพื่อไม่เป็นกรเสียเวาลาเรามาเริ่มเรียยนรู้ภาษาเหนือกันเลยดีกว่า ไปเลย

ศัพย์ภาษาเหนือ
แปลว่า
กำ
คำ
กำเมือง
ภาษาเหนือ
อู้
พูด
อู้กำเมือง
พูดภาษาเหนือ
กำอ่าน
คำอ่าน
ตั๊ก
ทัก ทักทาย
สวัสดีเจ้า
สวัสดีค่ะ
เจ้า
ค่ะ    , บางทีใช้เรียกแทนตัวเอง
เปิ้ล
ฉัน
ตั๋ว
เธอ
คิง
เธอ(คำไม่สุภาพใช้เรียกผู้ชาย),(มึง)
ฮา
ฉัน(คำไม่สุภาพใช้เรียกผู้ชาย),(กู)
บ่า
ไอ้(คำไม่สุภาพใช้เรียกผู้ชาย)
ไอ่
ไอ้(คำไม่สุภาพใช้เรียกผู้ชาย)
ตั๋วเก่า
ตัวเอง
เปิ้น
คนอื่น